ที่
|
ทฤษฏี
|
แนวคิด
|
กุญแจสำคัญ
|
ลำดับขั้น
|
ประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
|
1
|
พาฟลอฟ
|
การเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
|
การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตมักเกิดจากการวางเงื่อนไข
จนนำไปสู่การเกิดพฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า ซึ่งสามารถอธิบานเพิ่มเติมได้ว่า
เมื่อพฤติกรรมเหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำหลายๆครั้ง จนผู้ถูกวางเงื่อนไขเกิดการเรียนรู้
ครั้งต่อไปก็จะเกิดพฤติกรรมตอบสนองโดยอัตโนมัติ เพียงแค่มีสิ่งเร้าเกิดขึ้น
โดยไม่ต้องบอกเงื่อนไขซ้ำอีก
|
3 ขั้น
|
ครูสามารถใช้หลักการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
โดยทำความเข้าใจถึงพฤติกรรมมตอบสนองของผู้เรียน
|
2
|
วัตสัน
|
การเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข
|
ทุกๆพฤติกรรมต่างๆของมนุษย์จะเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
คนเราเกิดมาจะมีปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่ติดตัวมาโดยไม่ต้องเรียนรู้อยู่
3 อย่าง คือ
- ความกลัว
- ความโกรธ
- ความรัก
|
2 ขั้น
|
ครูสามารถที่จะหลักการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ ในการควบคุมผู้เรียน
ครูจะสามารถวางเงื่อนไขให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมตามที่พึงประสงค์ได้
|
3
|
ธอร์นไดท์
|
การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก
|
เป็นการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองโดยการตอบสนองจะแสดงออกในหลายๆรูปแบบจนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีที่สุด
เรียกว่า การลองผิดลองถูก
|
3 ขั้น
|
1. เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง
2. เมื่อผู้เรียนเกิดการรู้แล้ว
ครูสามารถที่จะฝึกให้ผู้เรียนนำการเรียนรู้นั้นไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
3. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่ตัวเองพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียน
การสอน ประสบความสำเร็จ
|
4
|
สกินเนอร์
|
การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบ Type R และให้ความสำคัญต่อการเสริมแรง
|
เป็นการเชื่อมโยงสิ่งเร้ากับพฤติกรรมตอบสนองเช่นเดียวกัน
แต่จะให้ความสำคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสิ่งเร้า และยังให้ความสำคัญในเรื่องของการเสริมแรง
หรือพูดได้ว่าอัตราการเกิดพฤติกรรมตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทำที่เรียกว่า
การเสริมแรงหรือการลงโทษทั้งทางบวกและทางลบ
|
ในการเรียนการสอนครู
สามารถที่จะใช้ทฤษฏีนี้ ในการพัฒนาความสามารถของผู้เรียนได้อย่างเต็มที่
ด้วยการเสริมแรงให้กับผู้เรียน เช่น ให้คำชมเมื่อผู้เรียนทำดี และในการลงโทษครูสามารถที่จะลงโทษผู้เรียนในทางบวกได้
|
|
5
|
เกสตัลท์
|
การเรียนรู้จากการรับรู้และการหยั่งเห็น
|
ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
แล้วนำความสัมพันธ์นั้นมาใช้ในการแก้ปัญหาได้ ทั้งนั้นในการแก้ปัญหาในแต่ละคนจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสติปัญญา
ความสามารถ วุฒิภาวะ และประสบการณ์ที่เคยพบมาในอดีตด้วย
|
4 ขั้น
|
1. ครูสามารถที่จะจัดการเรียนการสอนให้มีความยากง่ายให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
2. ครูสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย
|
6
|
บันดูรา
|
การเรียนรู้จากการสังเกตเเละเลียนเเบบ
|
โดยที่บันดูรา กล่าวว่า มนุษย์ต้องมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งเเวดล้อม
ถึงจะเกิดการสังเกตเเละเลียนเเบบ
|
4 ขั้น
|
ครูสามารถที่จะเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้เรียนได้
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการเรียนการสอน ในเรื่องการแต่งกาย ฯลฯ
|
ทฤษฏีการเรียนรู้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น