ทฤษฎีพัฒนาการของเพียเจต์

แนวคิดของเพียเจต์
การเรียนรู้ของเด็กจะเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา
ซึ่งจะเป็นไปตามวัยเป็นลำดับขั้น เป็นไปตามธรรมชาติ
ไม่ควรเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่งเพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก
กระบวนการทางสติปัญญามีลักษณะดังนี้
1.การซึมซับหรือการดูดซึม
2.การปรับและจัดระบบ
3.การเกิดความสมดุล
พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น ดังนี้
1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว
เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด
เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก
2 ขั้น คือ
- ขั้นก่อนเกิดสังกัป
- ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้
3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม
เริ่มจากอายุ
7-11 ปี เด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้

4. ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม
เริ่มจากอายุ
11-15 เด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่
ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง
เด็ก จะสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มีอยู่

เพียเจต์ ได้นำมาเป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่งขั้นพัฒนาจริยธรรมออกเป็น
3 ขั้น ดังนี้
- ขั้นก่อนจริยธรรม
- ขั้นยึดคำสั่ง
- ขั้นยึดหลักแห่งตน
ขั้นเพียเจต์
ได้ตั้งเกณฑ์การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมไว้ 6 เกณฑ์ยึดหลักแห่งตน
- การตัดสินจากเจตนาการกระทำ
- การตัดสินเกี่ยวโยงกับความสัมพันธ์กับผู้อื่น
- ความเห็นอิสระจากการลงโทษ
- ใช้วิธีการแก้แค้น
- การลงโทษเพื่อตัดสินนิสัย
- หลักธรรมชาติของความโหดร้าย
สรุป
เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น
เพียเจต์สรุปว่า
พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่
แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น