ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์

นักจิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์ ชาวเยอรมัน ประกอบด้วย Max Wertheimer, Wolfgang
Kohler และ Kurt Koftka ซึ่งมีความสนใจเกี่ยวกับการรับรู้
การเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เก่าและใหม่
นำไปสู่กระบวนการคิดเพื่อการแก้ปัญหา
กลุ่มเกสตัลท์กล่าวว่า
การเรียนรู้ที่เห็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อยนั้นจะ
ต้องเกิดจากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ
ต้องเกิดจากประสบการณ์เดิม และการเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ
1.การรับรู้
การตีความต่อสิ่งเร้าของ
อวัยวะรับสัมผัสส่วน ใดส่วนหนึ่งหรือทั้งห้าส่วน ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น
และผิวหนัง และ มักอาศัย ประสบการณ์เดิมดังนั้น แต่ละคน
การเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์ที่เน้น "การรับรู้เป็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย"
นั้น ได้สรุปเป็นกฎการเรียนรู้ของ ทั้งกลุ่ม ออกเป็น 4 กฎ เรียกว่ากฎการจัดระเบียบเข้าด้วยกัน ดังนี้
- กฏแห่งความแน่นอนหรือชัดเจน
- กฏแห่งความคล้ายคลึง
- กฏแห่งความใกล้ชิด
- กฏแห่งการสิ้นสุด
- กฎแห่งความต่อเนื่อง
- กฎแห่งความสมบูรณ์
การเรียนรู้จากการหยั่งเห็น
เกิดความคิดความเข้าใจแวบเข้ามาทันทีทันใดขณะที่บุคคลกำลังเผชิญปัญหาและจัด
ระบบการรับรู้ ซึ่งเดวิส (Davis, 1965) ใช้คำว่า Aha
' experience
การไปประยุกต์ใช้
1. กระบวนความคิดของเด็กแตกต่างกับผู้ใหญ่
2. เน้นความสำคัญของผู้เรียน
3. ในการสอนควรจะเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคยหรือประสบการณ์ที่ใกล้ตัวไปหาประสบการณ์ที่ไกลตัว
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น